200 ปัจจัย การจัดอันดับของกูเกิล  | ครูเจ ไอทีแม่บ้าน

สอน seo, รับสอน seo, สอนทํา seo, seo คือ, google seo, seo tool, thai seo, thailand seo, เรียน SEO วิธีทำ Search Engine Optimization เพิ่มลูกค้า 100% ง่ายๆ แบบบ้านๆ แต่ได้ผลจริง 100% การทำ SEO ให้เว็บติดอันดับ 1 บน Google ด้วยเงิน 0 บาท SEO BLOG SEO คืออะไร, ปัจจัย SEO มีอะไรบ้าง และทำ SEO อย่างไร ? ทำไมต้องทำ SEO ? ทำไมเว็บไซต์ต้องทำ SEO และวิธีการทำ SEO ที่ดี ช่วยให้มีอันดับผลการค้นหาที่ดีบน Google Search Engine อย่างไร ? สนใจติดต่อ: ไอทีแม่บ้าน ครูเจ www.ไอทีแม่บ้าน.com ไลน์@itmaeban

สัมภาษณ์ครูเจ ไอทีแม่บ้าน สอบถามคอร์สอบรม T. 098-469-9593 Line@:itmaeban

วันศุกร์ที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2560

เทคนิคขายดี เฟสบุ๊ค

เปิดfacebook,สร้างเพจ,ไอทีแม่บ้าน, ครูเจ, เรียนเฟสบุค,ขายของออนไลน์, ร้านค้าออนไลน์, สอนการตลาดออนไลน์,เรียนขายของออนไลน์,โปรโมทเพจ,โฆษณาเฟสบุค
หลักสูตรสอนการตลาดออนไลน์ : SEO Facebook
27. มาแชร์เคล็ดลับ เทคนิคขายดี เทคนิคขายดีบนเฟสบุค สำหรับแม่ค้าออนไลน์ แม่ค้าออนไลน์มือใหม่ มือเก่า มือสมัครเล่น รีบอ่านเลย เขียนจากประสบการรณ์ค่ะ
1. Facebook SEO เบื้องต้น
2. เทคนิคการตั้งค่าเฟสบุคโปรไฟลธุรกิจให้ค้นหาเจอจากมือถือ
3. เทคนิคการสร้างกลุ่มขายของเพื่อสร้างรายได้
4. เทคนิคการวิเคราะห์ธุรกิจ ค้นหากลุ่มลูกค้าเป้าหมาย
5. เทคนิคการเปิดเพจธุรกิจ Facebook Fan Page
6. เทคนิคการเปิดร้านค้า
7. เทคนิคการสร้างสินค้า
8. เทคนิคการแท็กสินค้า
9. เทคนิคการใส่แผนที่ร้านค้า
10.เทคนิคการใส่หน้าเกี่ยวกับพร้อมการเพิ่มหมวดหมู่ให้ค้นหาเจอบนกูเกิล
7. เทคนิคการโพสขายในรูปแบบต่างๆ
8. เทคนิคการทำ url ให้สั้นลง
9. เทคนิคการนำทางลูกค้าด้วย Call To Action
10. การสร้างลิงค์ไลน์เพื่มเพื่อน Line Add Friends
11. การตั้งค่า Back Links ระหว่าง Website
12. เทคนิคการใช้งาน Extensions เพิ่มไลค์เพจ
13. การใช้งาน Extension เพิ่มบัญชีเฟสบุค 25 บัญชี
14. เทคนิคการใช้โปรแกรมช่วยหาลูกค้า
15. การใช้แฮชแท็ก Hashtag กระจายโพสต์
16. เทคนิคไลฟ์สด
17. หาพริตตี้รีวิวสินคา้และคลิปวีดีโอ
18. แนะนำโปรแกรมเพิ่มไลท์ เพิ่มเพื่อน ช่วยโพส Auto Post
20. เทคนิคการเชื่อมกลุ่ม
21. เทคนิคการโปรโมทโพสแบบออร์กานิค
22. เทคนิคการใส่ข้อมูลแนะนำตัว
21. เทคนิคการเชื่อมเพจ
22. เทคนิคการใส่รูปแนะนำ
23. เทคนิคการสร้างอัลบ้้มสาธารณะ
24. เทคนิคการใส่ Backlink ระหว่าง Facebook กับ Website
25. เทคนิกการปักหมุดโพสในกลุ่ม
26. เทคนิคการปักหมุดโพสในเพจ
27. เทคนิคการยืนยันเพจ 

สำหรับท่านที่สนใจอยากเรียนรู้วิธีทำ SEO Facebook อย่างถูกต้องและถูกวิธี สถาบันสอนการตลาดออนไลน์ ไอทีแม่บ้าน เปิดสอน แวะมาเรียนกับเราได้ เราสอนแบบจับมือทำ เรียนเป็นกลุ่มเล็กๆ เข้าใจง่าย สบายๆ ไม่เข้าใจสอบถามได้ 

สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ www.ไอทีแม่บ้าน.com

วันอังคารที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2560

SEO กับ 200+ ปัจจัยการค้นหาของ Google ดันอันดับ Google ด้วย SEO สำหรับนักเรียน ไอทีแม่บ้าน เท่านั้น

SEO กับ 200+ ปัจจัยการค้นหาของ Google ดันอันดับ Google ด้วย SEO สำหรับร้านค้าออนไลน์ ใครอยากให้เว็บติดอันดับกูเกิล รีบอ่านเลยค่ะ

ขั้นตอนการทำเว็บไซต์, เรียน google adwords , สอนการตลาดออนไลน์, ขายของออนไลน์, สอนขายของออนไลน์, สอนสร้างแบรนด์, สร้างแบรนด์ร้านค้าออนไลน์, เรียนเฟสบุค, สอนเฟสบุค, seo, ไอทีแม่บ้าน, ครูเจ



ใครอยากโฆษณาหน้าแรก Google แบบฟรีๆ สร้างยอดขาย ขยายตลาดแบบฟรีๆ วิธีทำ SEO ให้เว็บติดอันดับ 1 บน Google ด้วยเงิน 0 บาท !

(อ่านแล้วไม่เข้าใจ แวะมาเรียนกับเรานะคะ ไอทีแม่บ้าน เปิดสอนค่ะ)

1. ใครยังไม่มีเว็บไซต์ให้เริ่มต้นทำเว็บไซต์ได้แล้ว เพราะอายุของโดเมน Domain มีผลกับเว็บไซต์มากมาย เว็บไซต์ที่จดทะเบียนนานแล้ว จะได้เปรียบเว็บไซต์ของคู่แข่งที่พึ่งจดนะคะ (จดนานแล้ว - ดี)

2. ก่อนจดโดนเมน Domain เช่น www.ไอทีแม่บ้าน.coom ควรมี keyword (คำค้นหา) ในชื่อโดเมน กูเกิลอาจจะค้นหาเว็บไซต์ของเราเจอกว่าเว็บไซต์ที่ไม่มีโดนเมน หรือ Keyword 

3. มืออาชีพแนะนำว่าเว็บไซต์ที่จดควรมี keyword เป็นคำแรกในโดเมน Domain

4. ถ้าหากโดเมนของคุณไกล้หมดอายุ ควรรีบต่ออายุ อย่าปล่อยให้โดเมนของคุณหมดอายุก่อนนะคะ เพราะเว็บไซต์อาจหายไปจากการจัดอันดับกูเกิล Google (เหลือมาก - ดี)

5. ถ้าหากเว็บไซต์มีซัพโดเมนก็ควรมีมี keyword ในชื่อซับโดเมน Subdomain ด้วยเช่นกัน

6. ไม่ควรซื้อเวบไซต์ต่อเพราะประวัติของโดเมนมีผล เว็บไซต์เก่าอาจทำผิดกฎของกูเกิล เราซื้อมาก็อาจจะทำใหเสียตังฟรีๆ เลย (หากเปลี่ยนชื่อผู้ถือครองบ่อย - ไม่ดี) 

7. keyword คือหัวใจหลักของการทำตลาดออนไลน์ เราควรมี Keyword ของธุรกิจของเรา ให้ตรงกับชื่อโดเมนทั้งหมด

8. เว็บไซต์ที่มีข้อมูลเปิดเผยข้อมูลใน Whois บางเว็บไม่เปิดเผย จะมีผลต่อการค้นหาบนระบบ Google

9. ชื่อของเว็บไซต์ไม่เคยทำผิดกฎ เช่น หากเราซื้อเว็บต่อจากคนอื่น เจ้าของเว็บเก่าอาจจะเคยทำผิดกฎกูเกิลมาก่อน เช่นเคยจ้างคนปั่นเว็บแบบสายดำ สายเทา ง่ายๆ คือ ผู้ถือครองใน whois ไม่เป็นผู้ที่ทำผิดข้อบังคับ google 

10. สำคัญมาก หลายๆ คนชอบใช้ .com เพราะดูอินเตอร์ดี แต่หากอยากให้ลูกค้าในไทยค้นหาเจอ เราควรใช้ นามสกุล .co.th (ดีกว่า .com)

11. เวลาเขียนหัวข้อควรมีมี Keyword อยู่ในหัวข้อด้วย 

12. มี keyword ใน Title Tag  Title ที่จะเพิ่ม Traffic ได้ดี อาจเพิ่มคำเหล่านี้ เช่น สุดยอด, รีวิว, วิธีการ, ในปี 2559, 10 [ใส่ตัวเลขนำหน้าประมาณ Top 10] เป็นต้น

13. มี Keyword ใน Meta Description

14. keyword เป็นคำแรกใน Title Tag

15. มีการใช้คำ keyword นั้นซ้ำมากกว่าคำอื่นๆในหน้านั้น (เทียบคำต่อคำ)

16. มีเนื้อหาข้อความมากพอสมควร (1,000+ คำ)

17. มีความหนาแน่นของ keyword ในหน้า (เทียบคำต่อทั้งหมด)

18. LSI (Latent semantic indexing keyword) ในบทความไม่ควรเน้นแต่คำที่ต้องการ แต่ควรเน้นคำที่เป็น LSI ด้วย คือ keyword ที่ใกล้เคียงหรือเกี่ยวข้องกัน

19. LSI ในหัวข้อ และ meta description
มีคำที่เกี่ยวเนื่อง/เกี่ยวข้องใน Title และ Description Tag

20.โหลดเว็บได้อย่างรวดเร็ว 

20. ความเร็วในการโหลดหน้าเว็บ ช่วยส่งผลต่อการจัดอันดับ ยิ่งไฟล์เล็ก โหลดได้เร็ว จะยิ่งมีผลดี

21. ไม่ควรมีเนื้อหา/บทความที่ซ้ำกัน
บทความที่ซ้ำกัน จะส่งผลเสียต่อการจัดอันดับ

22. ใช้ Rel=Canonical เพื่อบ่งบอกหน้าที่ซ้ำกัน
การใช้ rel=canonical อย่างเหมาะสม จะทำให้ google รู้ว่าเราไม่ได้ตั้งใจทำบทความซ้ำกัน

23. โหลดเว็บด้วย Chrome ได้อย่างรวดเร็ว
ความเร็วในการโหลดหน้าเว็บผ่าน browser chrome เป็นที่รู้กันว่า chrome เป็นของ google อะไรที่ chrome ไม่ปลื้ม google ก็ไม่ชอบตามไปด้วย

24. ใส่ข้อมูลให้รูปภาพทั้ง ชื่อไฟล์, Alt Text, Title Description และ Caption
การทำ seo ให้กับรูปภาพ ไม่ว่าจะเป็นชื่อรูป alt text, title, description, caption ของรูป

25. ความสดใหม่ของเนื้อหา/บทความ (ยิ่งใหม่ - ยิ่งดี)
ความสดใหม่ของบทความ เป็นสิ่งที่ caffeine algorithm ใช้ในการจัดอันดับ เพราะ google เชื่อว่า บทความที่เขียนไว้นาน ๆ อาจล้าสมัยไปแล้ว จึงสร้าง caffeine ขึ้นมาเพื่อให้บทความที่ใหม่กว่าซึ่งอาจจะมีข้อความที่มีข้อมูลที่ทันสมัยกว่า ได้อันดับที่ดีกว่า

26. มีการปรับปรุงแก้ไขเนื้อหา/บทความ
การแก้ไขบทความ ทำให้ google รู้ว่าบทความนี้เปลี่ยนไป มีความสดใหม่กว่าบทความเก่า จะได้อันดับที่ดีขึ้น แต่การเปลี่ยนแปลงนั้นควรเป็นการเปลี่ยนแปลงที่เป็นการเขียนข้อความใหม่เพิ่มเข้ามา มากกว่าการเปลี่ยนแค่คำไม่กี่คำ
27. ความถี่ในการแก้ไขเนื้อหา/บทความ (ยิ่งถี่ - ยิ่งดี
ความถี่ในการแก้ไขบทความ ยิ่งบทความเปลี่ยนบ่อย google ยิ่งรับรู้ถึงความสดใหม่ของบทความ

28. มี keyword อยู่ใน 100 คำแรกของหน้า
การมีคำที่ต้องการปรากฎอยู่ใน คำ 100 คำแรกจะเป็นสิ่งที่ช่วยให้การจัดอันดับของ google ให้ดีขึ้น

29. มี keyword ใน H2, H3 Tag

30. การเรียงคำ ตรงกับ keyword

31. มี Link ออกไปยังเว็บที่มีคุณภาพบ้าง อย่าหวังแต่ Link เข้าอย่างเดียว

32. การสร้างเนื้อหาของของเว็บที่ลิงก์ Link วิ่งออกไปยังเว็บอื่นๆ

33. การสะกดคำที่ถูกต้องและถูกไวยกรณ์ 

34. ห้ามก็อปปี้ใครมาเนื้อหา/บทความที่เขียนขึ้นเองใหม่ (ไม่ได้คัดลอกมา) 

35. มีเนื้อหาที่มีคุณภาพ มีประโยชน์ จะช่วยให้เว็บของเรามีคุณภาพ มีวิธีง่ายๆที่ทำให้เนื้อหา/บทความของหน้าเพจมีคุณภาพ 1. มีคำมากกว่า 1,000 คำมีรูปภาพ, infographic, วิดีโอประกอบ 3. ทำเป็นหัวข้อและลิสต์รายการ,บทความเสริม

36. บางคนสร้างเว็บขึ้นมาเพื่อขายพื้้นที่ Banner และทำลิงก์ออกจากเว็บ จำนวน Link ออกมากเกินไปก็ไม่ดี

37. มีรูปภาพ วิดีโอ และมัลติมีเดียอื่นๆ  เว็บที่ติดอันดับ 1-10 ของ Google จะมีรูปภาพในเว็บ (ที่เกี่ยวกับเนื้อหา) อย่างน้อย 1 รูปเสมอ และยิ่งมีรูปและวิดีโอมากเท่าไหร่ จะยิ่งทำให้ผู้เข้าชมอยู่กับเว็บนานขึ้น

38. มี Link ภายในเว็บที่วิ่งเข้ามาหาหน้านั้น ทำ (On Page)

39. คุณภาพของเนื้อหาของหน้าที่มีลิงก์ภายในวิ่งเข้ามา (On Page)

40. บางท่านสร้างหน้าไม่เสร็จ เว็บของคุณก็จะมีหน้าที่เสีย ไม่ควรมีลิงก์เสีย (ลิงก์ไปยังหน้าที่ไม่มีอยู่จริง) 

41. มีความง่ายในการอ่าน เช่นการจัดหน้าให้สวย ทำตัวหนังสือให้สวย อ่านง่าย สบายตา

42. บางคนทำเว็บเพื่อหารายได้จาก Affiliate ไม่ควรมี Link ที่เป็น Affiliate มากเกินไป

43. ไม่ควรมี HTML error คุณสามารถตรวจสอบข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นบนเว็บไซต์ของคุณได้จาก Google Search Console

44. มีโดเมนที่น่าเชื่อถือ (Domain Authority - DA) หน้าเว็บของโดเมนที่มี authority มากกว่าย่อมดีกว่าเว็บที่มีค่าน้อยกว่า

45. มีค่า Page Rank (PR) สูง PR สูงเกิดจากมีลิงก์เข้ามาเป็นจำนวนมาก, แต่ละหน้ามีค่า PR ไม่เท่ากัน เราควรหาลิงก์จากเว็บที่มี PR สูง ที่เรียกว่า ลิงก์คุณภาพเท่านั้น อย่าเอาลิงก์ขยะเข้าเว็บนะคะ

46. URL ไม่ควรยาวจนเกินไป ปกติแล้วลิงก์ของ ไอทีแม่บ้าน ที่แสดงยาวเนื่องจากเป็นโค้ดของภาษาไทย ซึ่งมีผลดีมากกว่า (มีโอกาสตรงกับ keyword) URL ที่ยาวเกินไปอาจมีผลกับการค้น Google

47. URL ยิ่งใกล้โดเมนยิ่งดี
ที่อยู่ URL หรือ URL path ยิ่งหน้านั้นอยู่ใกล้กับหน้าแรกเว็บก็ย่อมได้ authority มากกว่าหน้าอื่น

48. เนื้อหาเขียนด้วยคน (ไม่ใช้โปรแกรมอัตโนมัติ) ห้ามใช้โปรแกรมในการเขียนเว็บ ควรเขียนเว็บด้วยตัวเอง เนื้อหาของเราเอง ผลงานของเราเองเท่านั้น

49. ความเกี่ยวข้องกันกับหน้าหมวดหมู่
หน้าหมวดหมู่ เป็นสิ่งที่รวบรวมหน้าที่มีเนื้อหาคล้ายกันเข้าด้วยกัน ซึ่งจะทำให้อันดับหน้าที่อยู่ในหน้าหมวดหมู่ดีขึ้นในคำนั้น

50. ใช้ Tag หรือป้ายกำกับ จะส่งผลดี (แต่ไม่ควรมีมากเกินไป)

51. มี keywords ใน URL จะได้เปรียบ เวลาตั้งค่า URL ควรคิดเรื่อง Keyword ก่อน

52. URL ที่สามารถอ่านได้ และมีลำดับชั้น เช่นกดเข้าไปดูเมนูอื่นๆ ได้

53. หากเราเขียนอ้างอิง และมีแหล่งที่มา เราควร มี Reference และที่มา (หากมี) 

54. ใช้ bullet หรือ ลำดับรายการ เช่น 1.2.3.4.5. กูเกิลชอบบทความที่ลำดับหรือตัวเลข

55. ลำดับความสำคัญใน Sitemap

56. หากมีลิงก์ออกมากจะถูกหาว่า Spam จะมีผลเสียต่อการจัดอันดับ

57. มี PR ของคำต่างๆ หลายคำในหน้านั้น จะส่งผลให้ Google มองว่าเป็นหน้าที่มีคุณภาพ

58. อัพเดทหน้าบ่อยๆ อายุของหน้านั้นๆ หน้าใหม่ดีกว่าหน้าเก่า แต่หน้าเก่าที่อัพเดทใหม่ดีกว่าหน้าใหม่ (การอัพเดทนั้นหมายถึงการเพิ่มเนื้อหาอย่างน้อย 1 ย่อหน้า)

59. มีการจัดวางเนื้อหาเป็นมิตรกับผู้ใช้งาน เน้นอ่านง่าย สบายตา

60.ไม่ใช่โดเมนที่ว่างอยู่ (Parked Domain)

61เนื้อหาที่เป็นประโยชน์กับผู้เข้าชม เนื้อหาที่มีคุณภาพ อาจไม่มีประโยชน์กับผู้เข้าชมก็ได้ ดังนั้นต้องทำให้ผู้เข้าชมรู้สึกว่ามีประโยชน์มากที่สุด คุณสามารถสร้างเนื้อหาที่มีประโยชน์ได้จากการทำหน้าเนื้อหา "... คืออะไร", "... ใช้ยังไง", "วิธี ..." เป็นต้น

62. มีเนื้อหาที่มีคุณค่าและแตกต่าง สร้างหน้าเว็บที่มีข้อมูลเชิงลึกและมีประโยชน์กับผู้เช้าชมแทน

63. มีหน้าสำหรับติดต่อ (หน้าติดต่อเรา) Google จะได้รู้ว่า ลูกค้าสามารถติดต่อใครได้ ธุรกิจนั้นมีอยู่จริงไม่หลอกลวง 

64.บทความที่มีสาระและไม่ซ้ำใคร google นั้นลงโทษเว็บที่มีบทความซ้ำ ๆ หรือบทความน้อยแต่มี link ออกมากเกินไป บางคนสร้างเว็บมาเพื่อหลอกกูเกิลไปยังเว็บไซต์อื่น

65. หน้าติดต่อเรา เป็นสิ่งหนึ่งที่เว็บควรมี เพราะ google ชอบเว็บที่มีข้อมูลให้ติดต่อได้ และถ้าข้อมูลตรงกับ whois ก็อาจช่วยมากขึ้น

64.มี Domain Trust / TrustRank สูง คิดจากอีกหลายปัจจัย โดยเน้นที่การมี link จากเว็บที่มีคุณภาพสูงจำนวนมาก 
trustrank หรือ domain trust จำนวน link ที่เว็บคุณได้จากเว็บอื่น โดยเฉพาะเว็บที่มี trustrank สูงหรือเว็บที่ google เรียกว่า seed sites

65. มีโครงสร้าง HTML ของเว็บที่ดี
โครงสร้างเว็บไซต์ ช่วย google จัดการกับบทความในเว็บคุณได้เป็นอย่างดี

66. มีการปรับปรุงแก้ไขเว็บอยู่เสมอ
การอัปเดตเว็บบ่อย ๆ โดยเฉพาะถ้าเป็นเนื้อหาที่ไม่ซ้ำใคร

67. มีจำนวนหน้าเว็บเยอะ จำนวนหน้าเว็บ เว็บที่มีจำนวนหน้าเยอะ ทำให้ google มองว่าเป็นเว็บคุณภาพ

68. มี Sitemap ของเว็บ
การมีไฟล์ sitemap ไฟล์นี้ช่วยให้ search engines รู้จักเว็บไซต์คุณดีขึ้น

69. เว็บมี Uptime สูง เปิดหน้าเว็บเร็ว ไม่ต้องรอนาน
site uptime การที่เว็บ down นั้นส่งผลเสียต่อการจัดอันดับเว็บคุณ

70. ที่ตั้งเซิฟเวอร์ หากค้นหาคำไทย ที่ตั้งในไทยจะดีกว่า
ที่อยู่ของเซิฟเวอร์ : ที่อยู่ของเซิฟเวอร์อาจจะมีผลทำให้เว็บของคุณมีอันดับต่างกันไปในแต่ละประเทศได้ โดยเฉพาะเมื่อเป็นการค้นหาแบบเจาะจงพื้นที่

71. มีการใช้งาน SSL (https://)
SSL Certificate (สำหรับเว็บอีคอมเมิร์ซ) กูเกิ้ลยืนยันว่าพวกเขาทำการเก็บข้อมูล SSL certificate ด้วย ดังนั้นนี่จึงเป็นเหตุผลนึงว่า google อาจจะจัดอันดับเว็บอีคอมเมิร์ซที่มี SSL certificates สูงกว่าเว็บอื่น ๆ

72. มีหน้าข้อตกลงการใช้งาน และนโยบายความเป็นส่วนตัว
เงื่อนไขการให้บริการและหน้าส่วนตัว สองหน้านี้จะช่วยบอก google ว่าเว็บไซต์นี้เป็นเว็บที่มีความน่าเชื่อถือในโลกออนไลน์

73. ข้อมูลใน Mete Tag ต้องไม่ซ้ำกัน
 เนื้อหาที่ซ้ำกันบนเว็บ: หน้าที่ซ้ำซ้อนและ meta information ที่เหมือนกันทุกหน้าในเว็บอาจจะทำให้เว็บไซต์ของคุณอันดับต่ำลง

74. มีเมนูแบบ Breadcrumb
เมนูแบบ Breadcrumb เป็นเมนูที่ช่วยให้ผู้เยี่ยมชม รวมไปถึง search engines รู้ว่าตอนนี้หน้าที่พวกเขาอยู่นั้นอยู่ตรงส่วนไหนของเว็บ ซึ่งบางเว็บไซต์อ้างว่ามันช่วยในเรื่องการจัดอันดับด้วย

75. รองรับกับอุปกรณ์มือถือ (Mobile Site) 
การออกแบบให้รองรับอุปกรณ์มือถือ การออกแบบเว็บไซต์ให้รองรับอุปกรณ์มือถือต่าง ๆ (responsive website) จะช่วยให้ติดอันดับที่ดีในการค้นหาโดยใช้อุปกรณ์มือถือ

76. ใช้ Youtube ในการอัพโหลดวิดีโอ
 Youtube แน่นอนว่าวีดีโอเว็บ youtube สามารถทำอันดับใน google ได้ดี เหตุผลง่าย ๆ ก็แค่เจ้าของเดียวกัน

77. การใช้งานเว็บที่ง่าย 
เว็บไซต์ที่ยากต่อการใช้งาน หรือดูหน้าเว็บ จะทำให้อันดับแย่ลงเนื่องจากผู้เยี่ยมชมใช้เวลาบนเว็บไซต์น้อยกว่าเว็บทั่วไป รวมดูจำนวนหน้าที่ดูน้อยกว่า การกลับเข้ามาดูอีกครั้งที่ต่ำ

78. ใช้ Google Analytic และ Google Webmaster Tools 
การใช้ google analytics และ google webmaster tools หลายคนมีความเชื่อว่าถ้ามีการติดตั้งสองโปรแกรมนี้บนเว็บจะช่วยเรื่องการเก็บข้อมูล และส่งผลโดยตรงต่อการจัดอันดับเนื่องจากได้ให้ข้อมูลของเว็บคุณตามที่ google ต้องการ

79. มีการรีวิวจากผู้ใช้งานบนเว็บรีวิวที่มีชื่อเสียง
คำวิจารณ์จากผู้เยี่ยมชม/ชื่อเสียงของเว็บไซต์ คำวิจารณ์บนเว็บไซต์ที่มีชื่อเสียงต่าง ๆ จะส่งผลต่อการจัดอันดับ ซึ่งเราได้เห็นความพยายามจะใช้สิ่งนี้เข้ามาร่วมจัดอันดับหลายครั้ง เพื่อให้ผู้ใช้สามารถให้คะแนนเว็บเพื่อลดปัญหาการสร้าง link ที่เน้นเรื่อง seo มากกว่าเป็น link ตามธรรมชาติ

80. มีลิงก์มาจากเว็บที่มีอายุนาน
ลิงก์จากเว็บที่มีอายุเก่าแก่ให้ผลดีมากกว่าลิงก์จากเว็บใหม่ ๆ

81. จำนวนลิงก์ที่มาจากหน้าหลักของเว็บ

82. จำนวนลิงก์ที่ลิงก์ไปที่หน้าหลักของเว็บ เป็นหนึ่งในปัจจัยสำคัญในการจัดอันดับของ google

83. มีลิงก์มาจากเว็บที่มีที่ตั้งเซิฟเวอร์และ IP ต่างกัน

84. จำนวนของลิงก์ที่ได้จากเว็บที่มี IP class C แตกต่างกัน ยิ่งหลากหลายเท่าไหร่ก็ยิ่งเป็นผลดีกับเว็บคุณ

85. จำนวนลิงก์ที่วิ่งเข้ามา 
จำนวนลิงก์จากหน้าต่าง ๆ แม้ว่าจะเป็นหลาย ๆ หน้าในเว็บเดียวกัน แต่จำนวนที่ลิงก์มาก็ส่งผลต่อการจัดอันดับ

86. Alt text ของรูปที่มีลิงก์กลับ Alt Tag สำหรับ ลิงก์รูปภาพ อย่าลืมใส่ให้กับรูปภาพในเว็บคุณ 

87. มีลิงก์มาจากเว็บที่เป็นโดเมน .edu, .gov, .go.th, .ac.th
ลิงก์จากเว็บ .edu หรือ .gov แม้ว่า Matt Cutts เองจะบอกว่า ลิงก์จากเว็บพวกนี้ไม่ได้สำคัญกว่าลิงก์จากเว็บทั่ว ๆ ไป แต่หลายคนไม่เชื่อ และมั่นใจว่าการได้ลิงก์จากเว็บ .edu และ .gov ส่งผลดีกว่าลิงก์จากเว็บทั่วไปแน่ ๆ

88. PageRank (PR) ของเว็บที่มีลิงก์กลับ
pagerank ของหน้าที่ทำลิงก์มาหาเว็บคุณ ยิ่งสูงยิ่งดี

89. Domain Authority (DR) ของเว็บที่มีลิงก์กลับ
ค่า authority ของเว็บที่ทำลิงก์มาหาเว็บคุณ เช่นการได้ลิงก์จากหน้าเว็บ pr2 เหมือนกัน แต่หน้าหลักเว็บแรก pr3 ในขณะที่เว็บที่สองหน้าหลัก pr8 การได้ลิงก์จากเว็บที่สองย่อมได้ผลดีกว่า

90. มีลิงก์จากเว็บที่เป็นคู่แข่ง
ลิงก์จากเว็บคู่แข่ง ลิงก์จากหน้าเว็บที่อยู่ในหน้าผลการจัดอันดับในคำเดียวกัน ย่อมส่งผลดีกับเว็บคุณในคำนั้น ๆ

91. มีการแชร์บน Social (Post แบบมีลิงก์กลับ) การแชร์ในโซเชียลเน็ตเวิร์ค ยิ่งจำนวนมากยิ่งส่งผลกับหน้านั้น ๆ เช่น Facebook, Line, Google, YouTube, Twitter, Instagram, Blog

92. ห้ามมีลิงก์ที่มาจากเว็บต้องห้ามต่างๆ เช่น เว็บโป้ เว็บเปลือย เว็บการพนัน
link จากเว็บไซต์ที่ไม่พึงประสงค์ เว็บต้องห้ามต่าง ๆ จะส่งผลเสียกับเว็บไซต์คุณ

93. ลิงก์ที่มาจาก Guest Post ได้คะแนนน้อย
การเขียนจากบุคคลภายนอก ลิงก์ที่ได้นั้นส่วนใหญ่จะได้ในส่วนของผู้เขียนข้อความนั้น ซึ่งถือว่ามีค่า

94.น้อยกว่าลิงก์ในบทความ
มีลิงก์ไปยังหน้าหลักของโดเมนที่มีลิงก์กลับมาหา

95. ลิงก์ไปที่หน้าแรกของเว็บของหน้าใน การมีลิงก์ไปที่หน้าหลักบนหน้ารอง ๆ ของเว็บจะช่วยส่งผลต่อการจัดอันดับ

96. ได้ Nofollow Links ก็ยังดีกว่าไม่มีลิงก์กลับ
Nofollow links หนึ่งในหัวข้อที่ถูกพูดถึงบ่อยหัวข้อหนึ่งเมื่อพูดถึง SEO ซึ่ง google เองก็ได้บอกอย่างง่าย ๆ ว่า โดยทั่วไปแล้ว เราไม่ให้ความสนใจกับ nofollow link ซึ่งคำว่า “โดยทั่วไป” คือในกรณีปกติ ซึ่งหมายถึงมีกรณีที่นอกเหนือจากปกติและ google สนใจ ดังนั้นการได้ nofollow link ก็ดีกว่าไม่ได้เลย
มีความหลากหลายของเว็บที่มีลิงก์กลับ

97. ความหลากหลายของลิงก์ การมีลิงก์ที่ไม่เป็นธรรมชาติจำนวนมากนั้น สามารถดูได้ง่าย ๆ เช่น ลิงก์ส่วนใหญ่มาจากแหล่งคล้าย ๆ กัน เช่น ลิงก์จากประวัติส่วนตัวในฟอรั่มหรือเว็บบอร์ด ลิงก์จากการเขียนความเห็นในบล็อก ซึ่งเป็นเครื่องบ่งชี้ถึงการแสปม แต่ในอีกนัยนึงการได้ลิงก์ที่หลากหลายก็เป็นสัญญาณว่าเป็นลิงก์ที่เป็นคุณภาพ

98. ลิงก์กลับที่มีคำใกล้ๆ อย่างเช่น ผู้สนับสนุน จะได้คะแนนน้อย
ลิงก์ผู้สนับสนุนหรือลิงก์จากคำที่มีความหมายคล้าย ๆ กัน จะลดค่าของลิงก์นั้น
ลิงก์กลับนั้นอยู่ในเนื้อหา ดีกว่าลิงก์ที่อยู่นอกเนื้อหา

99. ลิงก์ในเนื้อหาบทความ ส่งผลดีมากกว่า ลิงก์ที่อยู่บนหน้าว่าง ๆ หรือลิงก์ที่เจอในส่วนอื่นของหน้า

100. ไม่ควรมีลิงก์กลับที่มาแบบหลอกที่มา

101. ข้อความในลิงก์กลับ (ที่มาจากเว็บอื่น) 

102.  ข้อความในลิงก์กลับ (ที่มาจากในเว็บตนเอง)

103. ข้อความใน Title ของลิงก์
หัวข้อลิงก์ ข้อความที่ปรากฎขึ้นเมื่อคุณลากเม้าส์ไปเหนือลิงก์นั้น เป็นอีกหนึ่งปัจจัยในการจัดอันดับ
ลิงก์กลับมาจากเว็บ .th

104. การได้ลิงก์พวกโดเมน ดอทต่าง ๆ ที่เป็นชื่อประเทศ เช่น .th , .co.uk, .de จะช่วยให้เว็บของคุณทำอันดับได้ดีในประเทศนั้น ๆ

106. ลิงก์กลับอยู่ในส่วนเนื้อหา ไม่ควรอยู่โดดๆ
ลิงก์ที่อยู่ในบทความ: ลิงก์ที่อยู่ในส่วนของบทความจะมีน้ำหนักมากกว่า ลิงก์ที่อยู่ตอนท้ายของบทความ

107. ที่อยู่ของลิงก์ในหน้า
การได้ลิงก์พวกโดเมน ดอทต่าง ๆ ที่เป็นชื่อประเทศ เช่น .th , .co.uk, .de จะช่วยให้เว็บของคุณทำอันดับได้ดีในประเทศนั้น ๆ

108.ลิงก์กลับอยู่ในส่วนต้นของหน้า
ที่อยู่ของลิงก์ในหน้า นั้นเป็นจุดสำคัญอย่างหนึ่ง โดยทั่วไปแล้วลิงก์ในบทความของหน้านั้นจะมีพลังมากกว่าลิงก์ที่ด้านข้างหรือด้านล่างของเว็บ

109. ลิงก์กลับจากโดเมนที่เกี่ยวข้องกัน (ยิ่งเฉพาะมาก ยิ่งดี)
การได้ลิงก์จากเว็บที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกัน ยิ่งเป็นเว็บที่เฉพาะเจาะจง ยิ่งได้พลังจากเว็บเหล่านั้นมากกว่าได้ลิงกืจากเว็บที่ไม่เกี่ยวข้องกัน

110. ลิงก์กลับจากหน้าที่เกี่ยวข้องกัน (ยิ่งเกี่ยวกัน ยิ่งดี)

101. ระดับความเกี่ยวข้องของหน้า hilltop algorithm บอกว่าลิงก์จากหน้าที่ใกล้เคียงกับบทความหน้าจะมีพลังมากกว่าได้ลิงก์จากหน้าที่ไม่เกี่ยวข้อง

102. ข้อความรอบๆ ลิงก์กลับควรเป็นคำชม

103.ข้อความรอบ ๆ ลิงก์ google อาจใช้ข้อความรอบ ๆ ลิงก์นั้นเพื่อตัดสินว่าลิงก์นั้นเป็นอย่างไร เพราะข้อความการเป็นคำแนะนำเว็บคุณ หรือเป็นการวิจารณ์เว็บคุณในแง่ร้าย ลิงก์ที่มีข้อความรอบ ๆ เป็นข้อความที่ดีย่อมส่งผลดีมากกว่า

104. มี keyword ใน Title ของลิงก์กลับ

105.คำที่ปรากฎรอบ ๆ: คำที่ปรากฎรอบ ๆ backlinks ของคุณจะช่วยให้ Google รู้ว่าหน้าเว็บคุณเกี่ยวกับอะไร

106. มีจำนวนเว็บที่มีลิงก์กลับมากขึ้นเรื่อยๆ 

107. ไม่ควรมีจำนวนเว็บที่มีลิงก์กลับน้อยลง

108. มีลิงก์จาก Hub ที่น่าเชื่อถือ

109. มีลิงก์จากเว็บที่ได้รับรองจาก Google

110.มีลิงก์จาก Wikipedia

111. การได้ลิงก์จากแหล่งอ้างอิงใน Wikipedia : แม้ว่าลิงก์เหล่านั้นจะเป็น nofollow แต่หลายคนก็คิดว่าการได้ลิงก์จาก Wikipedia จะช่วยเพิ่ม trust และ authority ให้กับเว็บคุณในการจัดอันดับของ search engines.

112. ข้อความที่ติดกันเลยกับข้อความลิงก์กลับ

113. 
ลิงก์จากหน้าเว็บท่า การได้ลิงก์จากหน้าเว็บที่ google มองว่าเป็นเว็บข้อมูลชั้นดี หรือหน้าเว็บท่า ในหัวข้อเฉพาะจะได้รับการจัดอันดับที่ดีเป็นพิเศษ

104. อายุของลิงก์กลับ (ลิงก์ที่มีอายุเยอะจะให้คะแนนที่ดีกว่า)

105. อายุ Backlink : สอดคล้องกับสิทธิบัตรของ Google ลิงก์ที่เก่าแก่กว่าจะให้พลังมากกว่าลิงก์ใหม่ ๆ

106. มีลิงก์ที่มาจากเว็บไซต์จริงๆ (ไม่ใช่เว็บบล็อกเพื่อ SEO) 

107. ลิงก์จากเว็บจริง ๆ เทียบกับ Splogs : เนื่องจากการมีบล็อกเน็ตเวิร์คเพิ่มขึ้นจำนวนมาก Google จึงให้น้ำหนักมากกว่าจากลิงก์ที่มาจากเว็บจริง ๆ จากบล็อกปลอม ๆ

108. ลิงก์ที่มาจากหน้า Profile (Facebook Profile) 

109. ลิงก์จากประวัติส่วนตัวที่เป็นธรรมชาติ: เว็บที่มีลิงก์ประวัติส่วนตัวเป็น “ธรรมชาติ” จะได้อันดับที่ดีและมั่นคงกว่าในการอัปเดต

110. ไม่ควรแลกลิงก์กันมากเกินไป

111. การแลกเปลี่ยนลิงก์: Google ห้ามทำการแลกเปลี่ยนลิงก์มากเกินไป ซึ่งจะผลเสียต่ออันดับของเว็บไซต์คุณ

112. มีลิงก์กลับที่เขียนขึ้นจากเจ้าของเว็บเอง

113. ลิงก์เนื้อหาที่ผู้ใช้สร้าง: Google สามารถแยกได้ว่าลิงก์มาจากผู้ใช้หรือเจ้าของสร้าง ตัวอย่างเช่น google รู้ว่าลิงก์ที่มาจากบล็อกทางการของ WordPress.com ที่ en.blog.wordpress.com นั้นจะแตกต่างจากลิงก์จากบล็อกชื่ออื่น ๆ ของ wordpress.com (ตัวอย่างเช่น ******.wordpress.com)

114. ลิงก์กลับมาจากการ 301 Redirect 

115. การมี redirect 301 มาที่หน้าที่มากเกินไป อาจส่งผลเสียกับเว็บคุณ
ลิงก์จากหน้า 301: ลิงก์จากหน้า 301 redirects อาจจะเสียพลังไปบ้างเมื่อเทียบกับลิงก์ตรง ๆ อย่างไรก็ดี Matt Cutts บอกว่าลิงก์ 301 นั้นให้ผลคล้ายกับลิงก์ตรง ๆ

116. Anchor Link 
anchor text link เป็นสิ่งที่ช่วยให้ google รู้ว่า จะจัดการอันดับให้เว็บด้วยคำว่าอะไร แต่หลัง ๆ ความสำคัญลดลงมากเนื่องจากมีการ spam anchor text link
anchor text ลิงก์ที่เป็นชื่อยี่ห้อ: นั้นสั้น ๆ เรียบง่าย แต่ให้ผลดีอย่างยิ่ง
การทำ anchor text link ให้กับลิงก์ภายในไปยังหน้าเว็บที่เกี่ยวกับคำนั้น ช่วยส่งผลต่อการจัดอันดับ แม้ว่าอาจไม่เหมือนการได้ลิงก์จากเว็บภายนอก

117. คีย์เวิร์ดในหัวข้อ google ชอบลิงก์ที่ anchor text เป็นคำเดียวกับคีย์เวิร์ดในหัวข้อเป็นพิเศษ
Link velocity 

118. การที่เว็บเราได้ backlink เพิ่มหรือลด เช่นเว็บคุณได้ backlink อยู่ 1,000 ลิงก์ เมื่อเวลาผ่านไปเว็บคุณได้เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ เป็น 1,500 ลิงก์ ย่อมหมายถึงเว็บคุณได้รับความนิยม การมี positive link velocity ย่อมเป็นผลดีกับเว็บของคุณ

119. Negative Link velocity 
negative link velocity ตรงกันข้ามกับ positive link velocity การที่เว็บของคุณมีจำนวน backlink น้อยลงเมื่อเวลาผ่านไป หมายถึงการเสื่อมความนิยมของเว็บของคุณ

120. ลิงก์จากเว็บ Authority 
ลิงก์จาก “เว็บ authority” จะช่วยเพิ่มพลังให้เว็บคุณมากกว่าเว็บเล็ก ๆ ทั่วไป

121. Shema.org Microformats: 
หน้าที่รองรับรูปแบบ microformats อาจได้อันดับดีกว่าหน้าที่ไม่รองรับมัน

122. Link ด้านข้างเว็บไซต์: 
ลิงก์ด้านข้างเว็บไซต์: Matt Cutts ยืนยันแล้วว่าลิงก์ด้านข้างเว็บไซต์ที่อยู่ทุกหน้าของเว็บนั้นจะถูก ”นับรวม” เป็นเพียงแค่ลิงก์เดียว

124. Chrome Bookmarks: 
bookmark ใน Chrome อาจเป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่ google ใช้มาช่วยวัดคุณภาพของเว็บ

125. Rich Snippets หรือบทสรุปเนื้อหาเว็บ

126. มีลิงก์กลับจาก Dmoz.org

127. การติด DMOZ: หลายคนเชื่อว่า Google ให้เครดิตกับเว็บที่ติดใน DMOZ ว่าเป็นเว็บที่มีคุณภาพ

128. มีลิงก์กลับเว็บที่มี TrustRank สูง 

129. การติดในไดเรกทอรีของ Yahoo!: google น่าจะมี algorithm ที่ให้ความสำคัญกับ Yahoo! Directory ดูจากการเป็นเว็บไดเรกทอรีมาอย่างยาวนาน ไม่แปลกที่เว็บที่ติดในนี้จะได้อันดับที่ดี
มีลิงก์กลับจากหน้าที่มีจำนวนลิงก์ออกน้อย

130. จำนวนของลิงก์ออกในหน้า: PageRank นั้นมีข้อจำกัด ดังนั้นลิงก์บนหน้าที่มีลิงก์ออกเป็นร้อย ๆ ลิงก์ย่อมส่งพลังของ pagerank ต่อไปได้น้อยกว่าหน้าเว็บที่มีลิงก์ออกน้อยกว่าลิงก์ที่มาจากเว็บบอร์ดหรือฟอรั่ม
131. ลิงก์ประวัติส่วนตัวฟอรั่ม: เพราะว่ามีการเพิ่มจำนวนสแปมค่อนข้างมาก Google จึงอาจจะลดความสำคัญของลิงก์จากหน้าประวัติส่วนตัวในฟอรั่มลง

132. มีลิงก์กลับจากหน้าที่มีจำนวนคำมากๆ
จำนวนคำของลิงก์เนื้อหา: ลิงก์จากบทความหนึ่งพันคำย่อมให้ผลดีกว่าลิงก์จากหน้าบทความที่มีเพียง ไม่กี่สิบคำ

133. มีลิงก์กลับจากหน้าที่มีเนื้อหาที่มีคุณภาพ
คุณภาพของลิงก์เนื้อหา: ลิงก์จากหน้าบทความแย่ ๆ อย่างบทความที่อ่านไม่รู้เรื่อง จะไม่ส่งพลังให้มากเหมือนกับหน้าบทความที่มีการเขียนเรียบเรียงอย่างดี

134. Google Toolbar
มีรายงานว่า Google ใช้ข้อมูลทูลบาร์เป็นตัววัดคุณภาพเว็บด้วย อย่างไรก็ตาม จากที่เราเคยรู้มาว่า google เก็บเวลาในการโหลดหน้าเว็บและเว็บนั้นติด แต่ตอนนี้ก็ได้รู้เพิ่มว่า google เก็บข้อมูลของเว็บ

135. เพิ่มจาก toolbar ของตัวเอง

136. Dwell Time
Google ให้ความสนใจอย่างมากกับ “dwell time”: ผู้คนใช้เวลานานเท่าไหร่บนเว็บไซต์คุณเมื่อมาจากหน้าค้นหาของ google บางครั้งสิ่งนี้ก็ถูกเอาไปอ้างอิงถึงเปรียบเทียบ “long clicks” กับ “short clicks”. ถ้าผู้คนใช้เวลาอยู่บนเว็บของคุณนาน ก็หมายถึงเว็บคุณเป็นเว็บคุณภาพ

137. Query Deserves Freshness
Google ให้อันดับที่ดีสำหรับหน้าใหม่ ๆ เนื้อหาใหม่ ๆ ในผลการค้นหา สอดคล้องกับ caffeine algorithm แต่หลัง ๆ ก็โดนลดความสำคัญลง

138.Query Deserves Diversity
Google อาจจะเพิ่มความหลากหลายเข้าไปในผลลัพท์การค้นหาสำหรับคีย์เวิร์ดทั่ว ๆ ไปอย่างเช่นคำว่า “Ted”, “WWF” หรือ “ruby”

139.  ลิงก์กลับที่เหมือนกันทุกหน้าจะถูกนับเป็นลิงก์เดียว

140. อัตราการคลิกจากผลการค้นหาสูง (Click Through Rate - CTR

141. อัตราการคลิกสำหรับ Keyword ในหน้าการค้นหา: หน้าที่ได้คลิกมากกว่าจะได้อันดับที่ดีขึ้นใน keyword นั้น

141. มี CTR สูงทุก keyword
อัตราการคลิกสำหรับทุก Keywords: หน้าหรือเว็บไซต์ที่มีอัตราการกดคลิกสูงสำหรับทุก keywords จะถูกจัดอันดับให้ดีขึ้นโดยใช้หลักเกณฑ์ว่ามีคนสนใจมาก ก็น่าจะเป็นหน้าเว็บที่น่าสนใจ
Bounce Rate ต่ำ

141. Direct Traffic สูง มีอัตราการกลับมาอีกครั้งสูง

142. ไม่เป็นเว็บที่โดนผู้ใช้งาน Block เว็บที่ถูกปิดกั้น: Google ไม่ใช่สิ่งนี้แล้วใน Chrome อย่างไรก็ตาม 

143. Panda algorithm ใช้คำสั่งนี้ในการตัดสินว่าเป็นเว็บที่มีคุณภาพหรือไม่

144. มีผู้ Bookmarks เว็บเราจำนวนมาก

145. เข้าเว็บด้วย Google Chrome 

146. ประวัติการใช้เบราว์เซอร์ของผู้ใช้: เว็บไซต์ที่คุมเยี่ยมชมบ่อย ๆ ในขณะที่คุณเข้าสู่ระบบของ google จะได้รับการจัดอันดับที่ดีสำหรับการค้นหาของคุณ

147. ทราฟฟิกแบบตรง: มีการยืนยันแล้วว่า Google ใช้ข้อมูลจาก Google Chrome เพื่อกำหนดว่ามีหรือไม่มีผู้คนเยี่ยมชมเว็บไซต์ (และเยี่ยมชมบ่อยแค่ไหน) เว็บไซต์ที่มีการเปิดเข้าเว็บโดยตรงจะถูกมองว่าเป็นเว็บคุณภาพดีกว่าเว็บที่ถูกเปิดด้วยวิธีแบบอื่น

148. มี Comments จำนวนมาก
จำนวนความคิดเห็น: หน้าที่มีความเห็นจำนวนมาอาจจะบ่งบอกถึงการตอบสนองของผู้ใช้และคุณภาพของเว็บ

149.ผู้เข้าชมเข้าเว็บเป็นเวลานาน   มาดูกันเลย !, และนี่คือผลลัพธ์, แต่ยังไม่หมดเท่านี้, เรื่องจริงๆ แล้วคือ, ส่วนที่ดีที่สุดหรอ ?, แล้วนี่มันหมายถึงอย่างไร ?, มันเกียวยังไงกัน ?, ฉันจะใช้มันได้อย่างไร ? เป็นต้น

150. ระยะเวลาการอยู่ในหน้าเว็บ: หลายคนเชื่อ ในขณะที่อีกหลายคนไม่เชื่อว่าระยะเวลาที่ผู้เยี่ยมชมอยู่ในหน้าเว็บจะส่งผลกับ SEO แต่มันอาจเป็นอีกวิธีหนึ่งที่ google ใช้ในการจัดอันดับโดยใช้ผู้ใช้ของตัวเอง เป็นตัววัดคุณภาพของหน้าเว็บนั้น ๆ เพราะถ้าหน้าเว็บไม่ดี คนจะรีบกดออกอย่างรวดเร็ว

151. หน้าเพจที่เพิ่งเกิดใหม่จะดีกว่าเสมอ

152. หาก keyword กำกวม Google จะแสดงให้หลากหลายมากที่สุด

153. เว็บถูกเข้าจาก "ประวัติการเข้าชม"

154. ทราฟฟิกซ้ำ: google มองว่าผู้เยี่ยมชมเว็บนั้น ได้กลับมาชมเว็บอีกหรือไม่ เว็บไซต์ที่มีผู้เยี่ยมชมเดิม ๆ เข้ามาซ้ำจะมองว่าเป็นเว็บคุณภาพดี และได้รับการจัดอันดับที่ดี

155. ประวัติการค้นหาก่อนหน้า
ประวัติการค้นหาของผู้ใช้: ผลลัพท์การค้นหาก่อนหน้าจะส่งผลต่อการค้นหาล่าสุด ตัวอย่างเช่นถ้าคุณค้นหา “รีวิว” แล้วค้นหาคำว่า “มือถือ” google จะจัดอันดับเว็บที่มีคำว่า “รีวิว มือถือ” สูงขึ้นในผลการค้นหา

156. Geo Targeting (ตำแหน่งที่อยู่)
Geo Targeting: Google ให้ความสำคัญกับเว็บไซต์ที่มีไอพีเซิร์ฟเวอร์ในถิ่นที่อยู่แถบนั้นและดอทต่าง ๆ ที่มีประเทศลงท้าย 

156. Safe Search (การค้นหาแบบปลอดภัย) 
การค้นหาแบบปลอดภัย: การค้นหาแบบปลอดภัยจะปิดกั้นไม่ให้คำหยาบและเนื้อหาที่ไม่เหมาะสมกับเยาวชนมาแสดง

157. Google+ (Social Network ของ Google)
Google+ Circles: Google แสดงอันดับที่สูงสำหรับผู้เขียนและเว็บไซต์ที่เราได้เพิ่มลงในแวดวง Google Plus ของเรา

158. ต้องไม่มีคำร้องเรียน DMCA
การร้องเรียน DMCA: Google จะลดอันดับของหน้าเว็บที่ถูกร้องเรียนเกี่ยวกับ DMCA
กฏความหลากหลายของเว็บ 

159. ความหลากหลายของโดเมน: ดูเหมือนว่าจะมี algorithm ที่ชื่อว่า Bigfoot Update ที่จะทำการเพิ่มหน้าโดเมนต่าง ๆ เน้นที่ความหลากหลายในหน้าการค้นหามากขึ้นทำให้ หน้ารอง ๆ ของเว็บอันดับต้น ๆ ได้อันดับดีกว่า หน้าหลักของเว็บรอง ๆ

160. การค้นหาที่เกี่ยวกับการซื้อ-ขาย 
การค้นหาคีย์เวิร์ดสินค้า: บางครั้ง Google จะแสดงผลลัพท์สำหรับคีย์เวิร์ดที่เกี่ยวกับสินค้าหรือการขายของในรูแบบที่แตกต่างออกไป

161. การค้นหาตามท้องถิ่น
การค้นหาท้องถิ่น: Google มักจะใส่ผลการค้นหาท้องถิ่นของ Google+ Local results ลงในหน้าผลลัพท์การค้นหาทั่ว ๆ ไป

161. Google จะแสดงผลเป็นแบบ News หากเป็นหน้าใหม่
Google News Box: การค้นหาบางคีย์เวิร์ด google อาจจะแสดงผลลัพท์ข่าวของ google ที่เกี่ยวกับคีย์เวิร์ดนั้นในบางครั้ง

162. Brand ชื่อดังจะติดอันดับได้ดีในคำกว้างๆ
ความให้ความสำคัญกับยี่ห้อดัง ๆ: Algorithm ที่ชื่อว่า Vince ที่ถูกเพิ่มขึ้นมาในปี 2009 ไม่ได้ทำให้อันดับเปลี่ยนแปลงมาก แต่มันให้ความสำคัญกับยี่ห้อดัง ๆ โดยทำให้หน้าเว็บยี่ห้อดัง ๆ ติดอันดับในคำที่ niche มากขึ้น

163. Google บางครั้งจะแสดงผลเป็นรูปแบบ Shopping

164. ผลลัพท์สินค้า : บางครั้ง google แสดง ผลลัพท์สินค้า ( Google Shopping results) ในการค้นหา

165. Google มักแสดงผลเป็นรูปแบบ Image 

166. ผลการค้นหาแบบรูปภาพ: บางครั้ง Google แทรกผลการค้นหาของเราด้วยผลลัพท์การค้นหารูป ที่ถูกดูมากที่สุดบนการค้นหาแบบรูปภาพ

167. Easter Egg (ของเล่นลับของ Google) 
การค้นหาแบบ Easter Egg: Google มีการค้นแบบ Easter Egg อยู่สิบกว่าอย่าง ยกตัวอย่างเช่นเมื่อคุณค้นหาคำว่า ”สอนการตลาดออนไลน์” ในการค้นหาแบบรูป ภาพ ผลลัพท์การค้นหาจะกลายเป็นการเริ่มเล่นเกมส์นี้

168. การค้นหาแบบรูปภาพ หาคำว่า “สอนการตลาดออนไลน์”

169. การค้นหาแบบเว็บ “Zerg rush”, “do a barrel roll”, “blink html”
หนึ่งโดเมนสามารถครองได้ทั้งหน้า SERP ถ้าคำตรงกับชื่อ Brand โดยตรง

170. ผลการค้นหาแสดงเว็บไซต์เดียวสำหรับยี่ห้อ : คีย์เวิร์ดที่เป็น ชื่อเว็บหรือยี่ห้อจะทำให้เกิดผลการค้นหาจากเว็บเดียวกันหลาย ๆ หน้า

171. มีจำนวน Tweet (Twitter) ของหน้านั้นเยอะ

172. จำนวนครั้งที่ทวีต: คล้ายกันกับลิงก์ การทวีตหน้าจะช่วยเพิ่มอันดับใน google

173. ยิ่งคน Tweet มี Follower เยอะ ยิ่งดี
บัญชีของผู้ใช้ Twitter ที่มีชื่อเสียง: เหมือนกันการทวีตจากหน้าผู้ใช้ที่สร้างมานานแล้ว หรือหน้าของผู้ใช้ที่มีชื่อเสียงอย่างดารา นักร้องดัง ๆ ที่มีผู้ติดตามจำนวนมากจะมีอิทธิพลสูงกว่าทวีตจากหน้าของผู้ใช้ใหม่

174. มีจำนวน Like (Facebook) ของหน้านั้นเยอะ

175. จำนวนการไลค์ในเฟซบุค : แม้ว่า Google จะไม่สามารถเห็นบัญชี Facebook แต่ละบัญชี แต่ google ก็คำนึงถึงจำนวนไลค์ใน facebook มาช่วยในการจัดอันดับด้วย แม้ว่าจะไม่มีผลมาก

176. มีจำนวน Share (Facebook) ของหน้านั้นเยอะ

177. การแบ่งปันใน Facebook: การแชร์โพสท์ใน Facebook — เพราะว่ามันคล้ายคลึงกับการสร้าง 

178. backlink ดังนั้นการแชร์ใน facebook นั้นได้ผลดีกว่าการมีไลค์ใน facebook

179. ยิ่งคนที่แชร์มี follower เยอะ / หรือแฟนเพจที่แชร์มี Like เยอะ ยิ่งดี การเพิ่มปุ่มแชร์ที่หน้าร้าน จะทำให้ผู้เข้าชมสามารถแชร์ได้ง่ายและสะดวก และนั่นดีต่อ SEO ของร้านคุณ

180. หน้าผู้ใช้ที่มีชื่อเสียง: เหมือนกับ Twitter การแชร์ใน Facebook shares และการไลค์จากหน้าใน facebook ที่ได้รับความนิยมมาก ย่อมให้ผลดีกว่าหน้าทั่ว ๆ ไป

181. จำนวน Pin (Pinterest) ของหน้านั้นเยอะ
Pinterest Pins: Pinterest เป็นโซเชียลมีเดียที่ได้รับความนิยมอย่างมาก และมีข้อมูลสาธารณะเป็นจำนวนมาก จึงดูเหมือนว่า google จะให้ความสำคัญกับ Pinterest Pins เป็นโซเชียลมีเดียที่สำคัญในการจัดอันดับ

182. มีจำนวน Vote (บนเว็บ Social Sharing) ของหน้านั้นเยอะ ตัวอย่างเว็บ Social Sharing เช่น Reddit, Stumbleupon, Digg เป็นต้น

183. การโหวตบนเรื่องที่แบ่งปันบนเว็บโซเชียล: ดูเหมือนว่า Google ใช้การแบ่งปันบนเว็บอย่าง Facebook เป็นตัวชี้วัดหนึ่งเรื่องความนิยมทางสังคมออนไลน์
บัญชีผู้ใช้ Google+

184. การกด +1 ใน google plus จากบัญชีผู้ใช้ที่มีชื่อจะส่งผลดีมากกว่าการกดของบัญชีที่มีผู้ติดตามน้อยกว่า

185. การยืนยันบัญชีผู้เขียใน Google+
“ภายในผลลัพท์การค้นหา ข้อมูลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับประวัติส่วนตัวที่ทำการยืนยันออนไลน์แล้วจะได้รับอันดับที่ดีกว่าบทความทั่ว ๆ ไปที่ยังไม่มีการยืนยันตัวตน การยืนยันผู้เขียนจึงเป็นการบอกถึงคุณภาพของเว็บ

186. มีจำนวน +1 (Google+) ของหน้านั้นเยอะ
จำนวนของ Google+1′s: แม้ว่า Matt Cutts จะบอกว่า Google+ ไม่มีผลโดยตรงกับการจัดอันดับ มันก็ยากที่จะเชื่อถือ เพราะว่า google ให้ความสำคัญกับเว็บโซเชียลอื่น แล้วทำไม google จะไม่ให้ความสำคัญกับเว็บโซเชียลที่ตัวเองเป็นเจ้าของอย่าง Google Plus
ยิ่งคนที่ +1 มี Circle ที่มีผู้ติดตามมากยิ่งดี
บัญชีผู้ใช้ Google+ ที่มีชื่อ: ดูเหมือนว่าการกด +1 ใน google plus จากบัญชีผู้ใช้ที่มีชื่อจะส่งผลดีมากกว่าการกดของบัญชีที่มีผู้ติดตามน้อยกว่า

187. ข้อความของโพสท์ที่แชร์
ถ้าเว็บมีผลคะแนนที่ดีด้าน Social ทุกหน้าที่อยู่ในเว็บจะได้รับผลดีด้วย

188. การชี้วัดการเกี่ยวข้องทางสังคม: Google อาจจะใช้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกันจากบัญชีผู้ใช้ที่ทำการแบ่งปันบทความและข้อความรอบ ๆ ลิงก์

189. มีชื่อแบรนด์ในลิงก์
การได้รับการวัดว่าเป็นเว็บที่ดีจากโซเชียลต่าง ๆ จะช่วยเพิ่ม authority ให้กับทั้งเว็บ ซึ่งจะช่วยอันดับในหน้าเว็บทั้งหมดของเว็บนั้น

190. มีผู้ค้นหาชื่อแบรนด์ของคุณ
การค้นหาชื่อเฉพาะ (ยี่ห้อ หรือชื่อเว็บไซต์) เป็นเรื่องที่เข้าใจได้ง่าย ๆ ว่าเมื่อผู้คนค้นหายี่ห้อ หรือค้นหาชื่อเว็บคุณบน google (ตัวอย่างเช่น “ไอทีแม่บ้าน” + “keyword”) Google จะให้ความสำคัญกับเว็บของยี่ห้อนั้นหรือเว็บที่เป็นเจ้าของชื่อเว็บนั้นเป็นพิเศษ

191. เว็บไซต์มี Facebook Page เป็นของตนเอง

192. เว็บไซต์ที่มีหน้าเฟซบุ๊คและจำนวนไลค์ที่มาก จะได้รับการจัดอันดับที่ดี

193. เว็บไซต์มี Twitter Profile เป็นของตนเอง

194. เว็บไซต์ที่โปรไฟล์ Twitter Profile ที่มีผู้ติดตามจำนวนมากแสดงว่าเป็นเว็บที่ได้รับความนิยม
เว็บไซต์มีหน้าเพจบน LinkedIn

195. หน้า Linkedin อย่างเป็นทางการของบริษัท บ่งบอกถึงความมีตัวตนจริง ๆ ของธุรกิจนั้น ๆ สร้างความน่าเชื่อถือให้เว็บ

196. พนักงานบริษัทมีข้อมูลบน LinkedIn
รายชื่อลูกจ้างบนหน้าเว็บ Linkedin: หน้าประวัติส่วนตัวของผู้ใช้ที่ยืนยันทำงานอยู่บริษัทนั้น ช่วยทำให้หน้าเว็บบริษัทมีความน่าเชื่อถือมากขึ้น

197. มีการโต้ตอบกันระหว่างเจ้าของบัญชีและผู้ติดตาม

198. การเคลื่อนไหวของบัญชีโซเชียลมีเดีย: มันคงดูเป็นเรื่องแปลกที่บัญชีในเว็บโซเชียลที่มีคนติดตามมากกว่าหนึ่งหมื่นคน แต่มีเพียงสองโพสท์ ดังนั้นเว็บที่มีผู้ติดตามมากและมีความสัมพันธ์กับผู้ติดตามมาก ๆ เช่นการโพสท์เรื่องจะช่วยเรื่องอันดับได้ดีกว่า

199. ชื่อแบรนด์ถูกเอ่ยถึงในเว็บไซต์ข่าวชื่อดัง
การเอ่ยถึงชื่อยี่ห้อบนเว็บไซต์ข่าว: เว็บยี่ห้อดัง ๆ มักจะถูกเอ่ยถึงในเว็บข่าวของ google อยู่เรื่อย ๆ ในความจริงแล้วยี่ห้อดัง ๆ บางยี่ห้อ มี feed ข่าว google ของตัวเองบนหน้าแรกด้วยซ้ำไป
แม้ถูกเอ่ยถึง ไม่จำเป็นต้องลิงก์ก็ได้เช่นกัน
Co-Citations: Brands get mentioned without getting linked to. Google likely looks at non-hyperlinked brand mentions as a brand signal

200. มีจำนวนผู้ติดตาม RSS
จำนวนของสมาชิกรับข่าว RSS: การที่ Google เป็นเจ้าของบริการ RSS ที่มีชื่อเสียงอย่าง Feedburner จึงดูเหมือนว่า google จะให้ความสำคัญกับจำนวนสมาชิกรับข่าว RSS ว่าเว็บนั้นได้รับความนิยม

201. ปักหมุดสถานที่ร้านค้าบน Google Business
ธุรกิจที่ลงที่อยู่ในรายชื่อ Google+ ท้องถิ่น: ธุรกิจที่แท้จริงต้องมีที่อยู่ออฟฟิตแน่นอน มันเป็นไปได้ที่ google จะให้น้ำหนักกับธุรกิจที่ลงที่อยู่ในรายชื่อ Google plus ท้องถิ่น

202. เว็บไซต์ได้จ่ายภาษีอย่างถูกต้องหรือไม่
เว็บไซต์เป็นWebsite is Tax Paying Business: รายงานของ SEOMoz ว่า Google อาจจะดูว่าเว็บนั้นเป็นธุรกิจที่มีการจ่ายภาษีหรือไม่ ซึ่งเป็นการยืนยันตัวตนที่ดี

203. ไม่เป็นเว็บที่มีเนื้อหาคุณภาพต่ำ
การลงโทษของแพนด้า เว็บไซต์ที่มีบทความคุณภาพต่ำ (อย่างเช่นบทความที่สร้างขึ้นมั่ว ๆ) จะถูกเมินหลังจากได้รับการลงโทษตาม algorithm Panda

204. ไม่มีลิงก์ไปยังเว็บคุณภาพต่ำ
การลิงก์ไปยังเว็บแย่ ๆ : การลิงก์ไปเว็บโป๊ การพนัน ผิดกฎหมายต่าง ๆ หรือเว็บขายยาหรือพวก 

205. payday load จะทำให้อันดับเว็บของคุณแย่ลง

206. ไม่มีการ Redirect หลอกไปเว็บอื่น
การรีไดเรค: การรีไดเรคแบบโกง ๆ เพื่อหวังผลนั้นเป็นสิ่งที่ไม่ควรทำเป็นอย่างยิ่ง เพราะถ้า google จับได้ ไม่ใช่แค่โดนลงโทษ แต่จะโดนแบนทันที

207. ไม่มี Popup หรือ Ad บังหน้าเว็บ
หน้าต่างป็อบอัพ หรือโฆษณาบังหน้าเว็บ : คู่มือแนะนำเว็บไซต์ของ google บอกว่าหน้าต่างป็อปอัพและโฆษณาที่ขึ้นมาบังหน้าเว็บบ่งบอกว่าเว็บนั้นมีคุณภาพต่ำ

208. ไม่ควรทำ SEO มากเกินไปกับเว็บ เช่น การใส่ Keyword ซ้ำไปซ้ำมาในหน้าเว็บ
เว็บที่ทำ SEO มากเกินไป: หน้าเว็บที่มีจำนวนคีย์เวิร์ดมากเกินไป การใส่คีย์เวิร์ดลงในส่วนหัวเยอะ ๆ หรือการใช้ คีย์เวิร์ดบ่อยครั้ง อาจะได้รับผลเสีย

209. ไม่ควรทำ SEO มากเกินไปกับหน้าหนึ่งๆ
หน้าที่ทำ SEO มากเกินไป: เพนกวินนั้นทำงานต่างกับแพนด้า โดยที่มันจะวิเคราะห์เป็นมาก ไม่เหมือนกับแพนด้าที่วิเคราะห์เป็นเว็บ

210. ไม่มี Ad ที่ลอยบังหน้าเว็บตลอดเวลา
โฆษณามากเกินไป: Algorithm รูปแบบเว็บ จะลงโทษเว็บไซต์ที่มีโฆษณาจำนวนมาก และมีเนื้อหาอยู่น้อย

211. ไม่ปกปิด Affiliate Link
การซ่อนลิงก์ Affiliate : การซ่อน affiliate links โดยเฉพาะการ cloaking จะทำให้ถูกลงโทษ 
ไม่เป็นเว็บที่ทำเพื่อ Affiliate

212. เว็บ Affiliate เป็นที่รู้กันดีว่า google ไม่ชอบเว็บ affiliates และหลาย ๆ คนก็เชื่อว่าเว็บที่มีลิงก์ affiliates จะถูกจัดอันดับต่ำกว่าความเป็นจริง

213. ไม่ใช้โปรแกรมเขียนเนื้อหาอัตโนมัติ
บทความที่สร้างขึ้นมั่ว ๆ : Google เกลียดบทความที่สร้างขึ้นมั่ว ๆ หรือใช้โปรแกรมสร้างขึ้น ถ้าพวกเขาสงสัยว่าเว็บของคุณผลิตบทความที่ไม่ได้เขียนเอง อาจจะถูกลงโทษหรือโดนแบน

214. ไม่ควรใช้ nofollow ทุกลิงก์ที่ออก หรือมีลิงก์ภายในมากเกินไป

215. การตั้งใจทำ PageRank มากเกินไป: ไม่ว่าจะเป็นการใช้ nofollow สำหรับลิงก์ออกทั้งหมด หรือลิงก์ภายในส่วนใหญ่ อาจเป็นสัญญาณว่าคุณพยายามที่จะโกงระบบที่ google คิดค้นขึ้น

216. IP Address ของเว็บไม่ถูกคาดโทษ
ไอพีแอดเดรส ที่ถูกระบุว่าเป็นแสปม: ถ้าไอพีของเครื่องเซิร์ฟเวอร์ของคุณถูกระบุว่าเป็นสแปม มันจะส่งผลเสียกับเว็บทั้งหมดที่อยู่บนเซิร์ฟเวอร์นั้น

217. ไม่ควร Spam ใน Meta Tag Google จะหักคะแนนหรือนำเว็บของคุณออกจาก SERP หากคุณทำการ

218. Spam ในการหา Link เข้าเว็บไซต์คุณ
การสแปม Meta Tag: การฝังคีย์เวิร์ดในส่วนของ meta tags ถ้า Google คิดว่าคุณใส่ keyword มากเกินไปที่ meta tag google อาจจะลงโทษเว็บไซต์ของคุณ

219. ไม่มีลิงก์กลับที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว
การเพิ่มจำนวนอย่างมากของลิงก์บ่งบอกความไม่เป็นธรรมชาติ ซึ่ง google จะลงโทษเว็บไซต์ของคุณ
ไม่เป็นเว็บที่ถูก Penguin Algo คาดโทษ Penguin Algorithm เป็นวิธีคิดที่ Google ออกมาเมื่อปี 2012

220. เพื่อจำกัดเว็บที่มีการสร้าง Link แบบผิดธรรมชาติ
บทลงโทษของเพนกวิน: เว็บไซต์ที่เพนกวินลงโทษจะแทบหาไม่เจอเลยในหน้าการค้นหา

221. ไม่มีลิงก์กลับจากหน้า Profile ที่ไม่มีคุณภาพ ลิงก์ที่คนทำ SEO ส่วนใหญ่มักใช้กันเช่น ช่องความคิดเห็นตามเว็บ Blog, หรือ หน้า Profile ของเว็บบอร์ดต่างๆ ซึ่ง Google จะมองว่าเป็นลิงก์ที่ไม่มีคุณภาพ
ลิงก์จากหน้าประวัติส่วนตัวที่มี % ว่าเป็นลิงก์ด้อยคุณภาพ: ลิงก์ส่วนใหญ่ที่คนทำ SEO ใช้กันอย่างเช่น

222. ลิงก์จากความคิดเห็นหรือประวัติส่วนตัว เป็นตัวบ่งชี้ว่าคุณพยายามโกงระบบอยู่

223. ไม่มีลิงก์จากเว็บที่ไม่เกี่ยวข้องจำนวนมาก

224. การลิงก์ถึงเว็บที่เกี่ยวข้องกัน: การวิเคราะห์ที่ได้รับการเชื่อถือของเว็บไซต์ MicroSiteMasters.com บอกว่าเว็บที่มีลิงก์จำนวนมากจากเว็บที่ไม่เกี่ยวข้องกันจะถูกเพนกวินลงโทษ

225. ไม่ถูกเตือนเรื่องมีลิงก์ผิดธรรมชาติบน Google Webmaster Tools แล้วไม่แก้ไข

226. คำเตือนลิงก์ไม่เป็นธรรมชาติ: Google ส่งข้อความหลายพันคำเตือนใน Google Webmaster Tools ซึ่งถ้าไม่แก้ไขจะทำให้อันดับหล่นลง แม้ว่าจะไม่ยืนยัน 100%

227. ไม่มีลิงก์จาก IP Class C เดียวกันมากๆ
ลิงก์จาก IP Class C เดียวกัน: การได้ลิงก์จากหลาย ๆ เว็บไซต์ที่อยู่บนไอพีเดียวกัน เป็นตัวบอกว่าคุณกำลังสร้างลิงก์จากเน็ตเวิร์คของตัวเอง

230. ไม่มีลิงก์กลับที่มีข้อความที่ผิดกฏ Google 

231.ลิงก์ anchor text “ที่เป็นพิษ”: การมีลิงก์ anchor text “ที่เป็นพิษ” (ตัวอย่างเช่นคีย์เวิร์ดกลุ่ม pharmacy) จะบอกว่าเว็บคุณเป็นเว็บสแปม ถูกสแปม หรือโดนแฮก ซึ่ง google จะทำการลดอันดับเว็บของคุณ

232. ไม่ควรถูกแบนโดยทีมงาน Google เอง 
การลงโทษจากพนักงาน google เอง: การลงโทษส่วนใหญ่เกิดจาก algorithm ของ google แต่ถ้ามีการร้องเรียนและพนักงาน Google พบว่าทำความผิดจริง แม้ว่าจะไม่ขัดกับ algorithm ของ google พนักงาน google ก็จะทำการลงโทษเว็บนั้นโดยตรง

233. ไม่มีลิงก์ที่มาจากการซื้อ Link
การขายลิงก์: การขายลิงก์นั้นจะลด pagerank ของคุณและการส่งผลเสียกับการจัดอันดับเว็บไซต์ของคุณ

234.ไม่ได้ถูกใส่ใน Google Sandbox Google มักจะนำเว็บไซต์ใหม่ๆที่เพิ่งเกิดขึ้นและมีพฤติกรรมที่ไม่ปกติเข้าไปใน Sandbox เพื่อสังเกตการณ์ และลดการแสดงผลใน SERP หากไม่ได้ทำผิดจริงก็จะถูกนำออกจากกล่องทรายนี้ได้

233. Google Sandbox: เว็บไซต์ใหม่ ๆ ที่มีลิงก์เพิ่มขึ้นจำนวนมาก จะถูกเก็บไปไว้ใน Google Sandbox ซึ่งเว็บที่โดน google sandbox นั้น จะแทบไม่ปรากฎในหน้าการค้นหาของ google
ทดสอบด้วย Google Dance 

234. Google Dance: การที่อันดับใน google ไม่นิ่งหรือที่เรียกกันว่า Google Dance จะส่งผลให้อันดับเว็บในหน้าการค้นหานั้นขยับเปลี่ยนแปลงไปมาอยู่ตลอดในเวลาอันสั้น เป็นกระบวนการที่ google กำลังตัดสินใจเว็บไหนที่กำลังจะโกงระบบของ google อยู่
ปฏิเสธลิงก์กลับที่ถูกกลั่นแกล้ง

235. Disavow Tool: การใช้ Disavow Tool บน google อาจจะช่วยลบการถูกลงโทษของเว็บที่ทำ SEO ที่แย่ ๆ ออกไปได้ แต่คุณต้องแก้ไขเว็บคุณให้ถูกต้องด้วย
การร้องขอสำเร็จ 

236. การส่งคำขอให้พิจารณาใน google: การส่งคำขอที่ได้รับการตอบรับจะช่วยลบการลงโทษออกไป
ไม่มี Link หลอกชั่วคราว

237. ติด HTTPS ให้กับเว็บไซต์ของคุณ Google จะเลือกเว็บไซต์ที่มีการป้องกันความปลอดภัยบนไซเบอร์ขึ้นมาเป็นอันดับแรกๆ

238. การขายลิงก์
การขายลิงก์: การขายลิงก์นั้นจะลด pagerank ของคุณและการส่งผลเสียกับการจัดอันดับเว็บไซต์ของคุณ

239. การใช้ bullets
การใช้ bullets และตัวเลข จะช่วยแบ่งบทความของคุณให้ผู้อ่าน อ่านง่ายขึ้น  ทำให้บทความเป็นมิตรกับผู้อ่านมากขึ้น google ชอบบทความที่มี bullets และตัวเลข

240. Youtube
Youtube แน่นอนว่าวีดีโอเว็บ youtube สามารถทำอันดับใน google ได้ดี เหตุผลง่าย ๆ ก็แค่เจ้าของเดียวกัน

241. Google Analytics & Google Webmaster Tools
การใช้ google analytics และ google webmaster tools หลายคนมีความเชื่อว่าถ้ามีการติดตั้งสองโปรแกรมนี้บนเว็บจะช่วยเรื่องการเก็บข้อมูล และส่งผลโดยตรงต่อการจัดอันดับเนื่องจากได้ให้ข้อมูลของเว็บคุณตามที่ google ต้องการ

242.คำวิจารณ์จากผู้เยี่ยมชม
คำวิจารณ์จากผู้เยี่ยมชม/ชื่อเสียงของเว็บไซต์ คำวิจารณ์บนเว็บไซต์ที่มีชื่อเสียงต่าง ๆ จะส่งผลต่อการจัดอันดับ ซึ่งเราได้เห็นความพยายามจะใช้สิ่งนี้เข้ามาร่วมจัดอันดับหลายครั้ง เพื่อให้ผู้ใช้สามารถให้คะแนนเว็บเพื่อลดปัญหาการสร้าง link ที่เน้นเรื่อง seo มากกว่าเป็น link ตามธรรมชาติ

243. Link จาก Social Media
การแชร์ในโซเชียลเน็ตเวิร์ค ยิ่งจำนวนมากยิ่งส่งผลกับหน้านั้น ๆ

244. Link จากหน้าแรกไปหน้าใน
ลิงก์ไปที่หน้าแรกของเว็บของหน้าใน การมีลิงก์ไปที่หน้าหลักบนหน้ารอง ๆ ของเว็บจะช่วยส่งผลต่อการจัดอันดับ

245. Link จากหน้าแรกไปหน้าใน
หัวข้อลิงก์ ข้อความที่ปรากฎขึ้นเมื่อคุณลากเม้าส์ไปเหนือลิงก์นั้น เป็นอีกหนึ่งปัจจัยในการจัดอันดับ 

สอบถามคอร์สอบรมการตลาดออนไลน์ :

สถาบันสอนการตลาดออนไลน์ ไอทีแม่บ้าน ครูเจ
โทร. 098-469-9593, 095-551-5034
Line@: itmaeban

ขั้นตอนการทำเว็บไซต์, เรียน google adwords , สอนการตลาดออนไลน์, ขายของออนไลน์, สอนขายของออนไลน์, สอนสร้างแบรนด์, สร้างแบรนด์ร้านค้าออนไลน์, เรียนเฟสบุค, สอนเฟสบุค, seo, ไอทีแม่บ้าน, ครูเจ


การลงโฆษณา google, ทำ เวปไซ ด์ , สอนการตลาดออนไลน์, ขายของออนไลน์, สอนขายของออนไลน์, สอนสร้างแบรนด์, สร้างแบรนด์ร้านค้าออนไลน์, เรียนเฟสบุค, สอนเฟสบุค, seo, ไอทีแม่บ้าน, ครูเจ


เว็บออกแบบ, หน้าแรกกู เกิ้ ล , สอนการตลาดออนไลน์, ขายของออนไลน์, สอนขายของออนไลน์, สอนสร้างแบรนด์, สร้างแบรนด์ร้านค้าออนไลน์, เรียนเฟสบุค, สอนเฟสบุค, seo, ไอทีแม่บ้าน, ครูเจ

สอน google adwords, เว็บโปรโมทสินค้า , สอนการตลาดออนไลน์, ขายของออนไลน์, สอนขายของออนไลน์, สอนสร้างแบรนด์, สร้างแบรนด์ร้านค้าออนไลน์, เรียนเฟสบุค, สอนเฟสบุค, seo, ไอทีแม่บ้าน, ครูเจ

วิธีทําเวปขายของ, การสร้างเวป , สอนการตลาดออนไลน์, ขายของออนไลน์, สอนขายของออนไลน์, สอนสร้างแบรนด์, สร้างแบรนด์ร้านค้าออนไลน์, เรียนเฟสบุค, สอนเฟสบุค, seo, ไอทีแม่บ้าน, ครูเจ

รับทำเวปไซด์, โฆษณาโดย google , สอนการตลาดออนไลน์, ขายของออนไลน์, สอนขายของออนไลน์, สอนสร้างแบรนด์, สร้างแบรนด์ร้านค้าออนไลน์, เรียนเฟสบุค, สอนเฟสบุค, seo, ไอทีแม่บ้าน, ครูเจ

เทคนิค seo, อยากทําเว็บขายของ , สอนการตลาดออนไลน์, ขายของออนไลน์, สอนขายของออนไลน์, สอนสร้างแบรนด์, สร้างแบรนด์ร้านค้าออนไลน์, เรียนเฟสบุค, สอนเฟสบุค, seo, ไอทีแม่บ้าน, ครูเจ

วิธีสร้างเว็บไซต์ด้วยตัวเอง, โฆษณา google ฟรี , สอนการตลาดออนไลน์, ขายของออนไลน์, สอนขายของออนไลน์, สอนสร้างแบรนด์, สร้างแบรนด์ร้านค้าออนไลน์, เรียนเฟสบุค, สอนเฟสบุค, seo, ไอทีแม่บ้าน, ครูเจ


อบรมการทำการตลาดออนไลน์, สอนทำเว็บขายของ , สอนการตลาดออนไลน์, ขายของออนไลน์, สอนขายของออนไลน์, สอนสร้างแบรนด์, สร้างแบรนด์ร้านค้าออนไลน์, เรียนเฟสบุค, สอนเฟสบุค, seo, ไอทีแม่บ้าน, ครูเจ



โปรโมท เว็บไซต์ ฟรี google, บทความ seo , สอนการตลาดออนไลน์, ขายของออนไลน์, สอนขายของออนไลน์, สอนสร้างแบรนด์, สร้างแบรนด์ร้านค้าออนไลน์, เรียนเฟสบุค, สอนเฟสบุค, seo, ไอทีแม่บ้าน, ครูเจ

สอนทํา website, ทำเว็บไซต์ด้วยตัวเอง , สอนการตลาดออนไลน์, ขายของออนไลน์, สอนขายของออนไลน์, สอนสร้างแบรนด์, สร้างแบรนด์ร้านค้าออนไลน์, เรียนเฟสบุค, สอนเฟสบุค, seo, ไอทีแม่บ้าน, ครูเจ


โพสเว็บบอร์ด, เวปประกาศขายของ , สอนการตลาดออนไลน์, ขายของออนไลน์, สอนขายของออนไลน์, สอนสร้างแบรนด์, สร้างแบรนด์ร้านค้าออนไลน์, เรียนเฟสบุค, สอนเฟสบุค, seo, ไอทีแม่บ้าน, ครูเจ

การ เขียนเว ป, การทำเว ป , สอนการตลาดออนไลน์, ขายของออนไลน์, สอนขายของออนไลน์, สอนสร้างแบรนด์, สร้างแบรนด์ร้านค้าออนไลน์, เรียนเฟสบุค, สอนเฟสบุค, seo, ไอทีแม่บ้าน, ครูเจ